วัวชน หรือ กีฬาวัวชน คือกีฬาพื้นบ้านที่มีชื่อเสียงโด่งดังจากจังหวัดนครศรีธรรมราช ในอดีตนับว่าเป็นกีฬาที่สร้างขึ้นมาเพื่อความสนุกสนาน โดยจะมีกติกาในการแข่งขันถึง 35 ข้อ จึงเป็นสิ่งที่ทำให้ผู้ที่รับชมกีฬาวัวชน เกิดความสนุกตื่นเต้น และ ประทับใจในการแข่งขันกีฬาวัวชน และในเวลาต่อมาได้มีการเดิมพันวัวชน ซึ่งเป็นสิ่งที่ช่วยเพิ่มความสนุกสนาน และ เพิ่มความตื่นเต้น ให้กับกีฬาวัวชนได้เป็นอย่างดี และในปัจจุบันนี้ทางเว็บ WUACHON888.INFO ได้ทำการพัฒนารูปแบบการเดิมพันวัวชน ให้กลายเป็นการ แทงวัวชน ผ่านทางระบบออนไลน์ เพื่อเพิ่มความสะดวกสบายให้กับผู้ที่ต้องการเดิมพัน จนในปัจจุบันนี้เว็บ wuachon888 ได้กลายเป็นเว็บไซต์เดิมพันวัวชนออนไลน์ที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในปี 2567 เลยทีเดียว
เป็นที่นิยมในรัฐทมิฬนาฑูทางตอนใต้ของประเทศ อินเดียรับรองกฎหมายคุ้มครอง กีฬาปล้ำวัว เป็นที่ถกเถียงมานานว่าเป็นการทารุณกรรมสัตว์
ศาลสูงสุดของอินเดียรับรองกฎหมายคุ้มครองกีฬาปล้ำวัวกระทิงหรือเทศกาล Jallikattu ซึ่งเป็นที่นิยมในรัฐทมิฬนาฑูทางตอนใต้ของอินเดีย ซึ่งก็เป็นที่ถกเถียงว่ากีฬาดังกล่าวเป็นกีฬาที่ทารุณกรรมสัตว์มาโดยตลอดคณะผู้พิพากษาศาลฎีกาของอินเดีย 5 คน ซึ่งเป็นชุดที่พิจารณาเกี่ยวกับการตีความรัฐธรรมนูญ มีคำวินิจฉัยเมื่อ 17 พฤษภาคม ว่า กฎหมายที่ออกโดยรัฐทมิฬนาฑู ซึ่งให้การคุ้มครองกีฬาปล้ำวัว ไม่ได้ขัดต่อรัฐธรรมนูญของอินเดียนอกจาก รัฐทมิฬนาฑู ศาลฎีกาอินเดียยังยกคำร้องที่ตั้งคำถามถึงความชอบธรรมตามรัฐธรรมนูญของกฎหมายในรัฐกรณาฏกะ
และรัฐมหาราษฏระที่อนุญาตการจัดเทศกาลปล้ำวัวและแข่งวัวภายในรัฐด้วยเช่นกันกีฬาปล้ำวัว หรือที่เรียกว่า ชัลลีกัฏฏู (Jallikattu) เป็นหนึ่งในกีฬาเก่าแก่ที่สุดที่ยังคงเล่นกันในยุคปัจจุบัน โดยมีอายุมากกว่า 2,000 ปี และจัดในช่วงเทศกาลเก็บเกี่ยวของชาวทมิฬ รูปแบบของกีฬานี้ บรรดาผู้แข่งขันจะต้องจับโหนกวัวกระทิง และพยายามเกาะไว้ให้ได้ประมาณ 15-20 เมตร หรือจนกว่าวัวจะกระโดด 3 ครั้ง จึงจะชนะที่ผ่านมา มีผู้แข่งขันเสียชีวิตจากการถูกวัวขวิดหรือเหยียบจำนวนมาก
และมีผู้ชมได้รับบาดเจ็บหลายร้อยคนด้านนักเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิสัตว์ระบุว่า กีฬาชนิดนี้เป็นการทารุณสัตว์ แต่ผู้ที่สนับสนุนอ้างว่า กีฬานี้เป็นส่วนสำคัญในมรดกทางวัฒนธรรมของพวกเขา รวมถึงยืนยันด้วยว่า วัวที่ใช้ในการแข่งขันนั้นได้รับการดูแลอย่างดี และกีฬานี้ก็ยังช่วยอนุรักษ์วัวสายพันธุ์ท้องถิ่นด้วยอย่างไรก็ตาม ในปี 2006 ศาลสูงมัทราสในรัฐทมิฬนาฑูได้สั่งแบนกีฬาปล้ำวัว หลังมีผู้ชมที่เป็นผู้เยาว์ถูกวัวทำร้ายเสียชีวิต ก่อนที่ศาลฎีกาจะมีคำสั่งห้ามเช่นเดียวกันในปี 2014
ด้วยเหตุผลเรื่องทารุณกรรมสัตว์แต่ในปี 2017 รัฐบาลรัฐทมิฬนาฑูก็ยกเลิกคำสั่งห้ามเป็นการชั่วคราว หลังเกิดการประท้วงของผู้สนับสนุนกีฬาปล้ำวัวจากนั้น รัฐทมิฬนาฑูก็ได้แก้ไขกฎหมายเพื่อให้กีฬาชนิดนี้สามารถจัดได้ต่อไป ซึ่งก็ทำให้กลุ่มนักเคลื่อนไหว เช่น พีต้า (PETA) ยื่นฟ้องต่อศาลฎีกาว่า การกระทำดังกล่าวขัดต่อรัฐธรรมนูญ และไม่ชอบด้วยกฎหมาย
ด้านนักเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิสัตว์กล่าวว่ากีฬานี้เป็นการกระทำที่ทารุณโหดร้ายต่อสัตว์ แต่ผู้สนับสนุนมองว่ากีฬานี้เป็นส่วนสำคัญของมรดกทางวัฒนธรรมที่สืบทอดจากรุ่นสู่รุ่นและโต้แย้งว่าสัตว์เหล่านี้ได้รับการดูแลเป็นอย่างดี รวมถึงกีฬานี้ยังส่งเสริมการอนุรักษ์วัวกระทิงสายพันธุ์พื้นเมืองอีกด้วย อย่างไรก็ตาม ในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ศาลสูงในรัฐทมิฬนาฑูได้สั่งห้ามการจัดเทศกาล Jallikattu หลังมีผู้ชมที่เป็นเด็กถูกวัวกระทิงทำร้ายจนเสียชีวิต ก่อนที่ศาลสูงสุดของอินเดียจะมีคำสั่งห้ามเช่นเดียวกันในปี พ.ศ. ๒๕๕๗
ด้วยเหตุผลเรื่องการทารุณกรรมสัตว์ แต่ในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ รัฐบาลรัฐทมิฬนาฑูก็ยกเลิกคำสั่งห้ามเป็นการชั่วคราวหลังเกิดการประท้วงของผู้สนับสนุนกีฬาปล้ำวัวกระทิง และในเวลาต่อมารัฐทมิฬนาฑูก็ได้แก้ไขกฎหมายเพื่อให้สามารถจัดเทศกาล Jallikattu ต่อไปได้การแก้ไขกฎหมายดังกล่าวทำให้กลุ่มเพื่อสิทธิสัตว์ นำโดย People for Ethical Treatment of Animals (PETA)
ได้ยื่นฟ้องต่อศาลสูงสุดของอินเดียว่ากฎหมายดังกล่าวขัดต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญในวันพฤหัสบดีที่ ๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ ที่ผ่านมา ศาลสูงสุดตัดสินว่ากฎหมายดังกล่าวไม่เป็นการขัดต่อรัฐธรรมนูญของอินเดียและเป็นส่วนหนึ่งของมรดกทางวัฒนธรรมของรัฐทมิฬนาฑู
คำตัดสินดังกล่าวเห็นชอบโดยคณะผู้พิพากษาศาลสูงสุดของอินเดีย ๕ คนซึ่งสนับสนุนกฎหมายที่คุ้มครองเทศกาล Jallikattu ในรัฐทมิฬนาฑูนอกจากนี้ ศาลยังยกคำร้องที่มีการยื่นต่อศาลสูงสุดว่ากฎหมายดังกล่าวขัดต่อรัฐธรรมนูญในรัฐกรณาฏกะและรัฐมหาราษฏระ ซึ่งเป็นรัฐที่อนุญาตให้มีเทศกาล Jallikattu ได้
ติดตาม โปรแกรมวัวชน ผลวัวชน ข่าวสารวัวชน รวดเร็วก่อนใครได้ที่เพจเฟสบุ๊ค วัวชนแดนใต้888 หรือแอดมาที่ @BULLFIGHT888
สนใจดูวัวชนสดก่อนใครสมัครสมาชิกเพื่อดูวัวชนเพียง 50 บาทห้ามพลาดเด็ดขาด!!